การเงินและงบการเงินรวมประจำปี สิ้นสุด 31 ธ.ค. 2542

29 February 2000
148.1 ล้านบาท ตามลำดับ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ (11.6) และ 11.6 ของกำไร (ขาดทุน) สุทธิในงบ การเงินรวมและร้อยละ (12.2) และ 11.2 ของกำไร (ขาดทุน) สุทธิเฉพาะของบริษัท ตามลำดับ - 22 - 6.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ บัญชีนี้ประกอบด้วย งบการเงินรวม บาท มูลค่า ณ วันที่ รายการเคลื่อนไหวระหว่างปี มูลค่า ณ วันที่ 1 มกราคม 2542 เพิ่ม ลด 31 ธันวาคม 2542 ราคาประเมิน ที่ดิน - ราคาทุนเดิม 48,072,500 - - 48,072,500 ส่วนเกินทุนจากการ ตีราคาที่ดิน 205,481,500 - - 205,481,500 ที่ดิน - ราคาประเมิน 253,554,000 - - 253,554,000 ราคาทุน ที่ดิน 41,349,635 - - 41,349,635 อาคารและส่วนปรับปรุง 1,100,819,637 26,236,808 (37,554,182) 1,089,502,263 เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ เครื่องใช้สำนักงาน 1,034,998,912 104,521,281 (154,721,264) 984,798,929 เครื่องมือและอุปกรณ์ 74,470,654 3,394,679 (14,998,674) 62,866,659 อุปกรณ์สำนักงานให้เช่า 64,236,420 24,351,235 (2,835,965) 85,751,690 ยานพาหนะ 59,954,213 9,893,136 (3,964,347) 65,883,002 อุปกรณ์โทรคมนาคม (หมายเหตุ 6.20) 536,670,516 93,449,930 (141,310) 629,979,136 งานระหว่างก่อสร้าง 2,164,030 64,697,819 (16,279,291) 50,582,558 รวม 3,168,218,017 326,544,888 (230,495,033) 3,264,267,872 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (1,121,439,747) 119,694,229 (273,049,279) (1,274,794,797) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ 2,046,778,270 446,239,117 (503,544,312) 1,989,473,075 - 23 - งบการเงินเฉพาะบริษัท บาท มูลค่า ณ วันที่ รายการเคลื่อนไหวระหว่างปี มูลค่า ณ วันที่ 1 มกราคม 2542 เพิ่ม ลด 31 ธันวาคม 2542 ราคาประเมิน ที่ดิน - ราคาทุนเดิม 48,072,500 - - 48,072,500 ส่วนเกินทุนจากการ ตีราคาที่ดิน 205,481,500 - - 205,481,500 ที่ดิน - ราคาประเมิน 253,554,000 - - 253,554,000 ราคาทุน ที่ดิน 5,123,993 - - 5,123,993 อาคารและส่วนปรับปรุง 463,856,641 22,566,612 (11,828,785) 474,594,468 เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ เครื่องใช้สำนักงาน 382,493,382 31,487,877 (28,532,385) 385,448,874 อุปกรณ์สำนักงานให้เช่า 39,996,205 4,057,438 (133,853) 43,919,790 ยานพาหนะ 38,021,977 3,879,721 (2,557,763) 39,343,935 งานระหว่างก่อสร้าง 63,000 17,104,900 (11,798,849) 5,369,051 รวม 1,183,109,198 79,096,548 (54,851,635) 1,207,354,111 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม (514,680,703) 22,726,652 (113,254,702) (605,208,753) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ 668,428,495 101,823,200 (168,106,337) 602,145,358 ในปี 2540 บริษัทได้ประเมินราคาที่ดินซึ่งเดิมบันทึกบัญชีไว้ในราคาทุนจำนวนเงิน ประมาณ 48.1 ล้านบาท ด้วยราคาประเมินเป็นจำนวนเงินประมาณ 253.6 ล้านบาท บริษัทประเมินราคาที่ดินดังกล่าว โดยอาศัยข้อมูลที่ได้รับจากบริษัทผู้ประเมินราคาอิสระส่วน เกินจากการประเมินราคาที่ดินจำนวนประมาณ 205.5 ล้านบาท บันทึกไว้ในบัญชี "ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน" ซึ่งแสดงไว้ภายใต้ "ส่วนของผู้ถือหุ้น" ในงบดุล ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดินนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ - 24 - ค่าเสื่อมราคาที่บันทึกเป็นต้นทุนและค่าใช้จ่ายสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มี จำนวนเงินประมาณ 273 ล้านบาท (113.3 ล้านบาท เฉพาะของบริษัท) ในปี 2542 และ 277.2 ล้านบาท (116.9 ล้านบาท เฉพาะของบริษัท) ในปี 2541 6.9 สินทรัพย์อื่น บัญชีนี้ประกอบด้วย บา ท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2542 2541 2542 2541 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 1,696,988,141 1,358,845,791 1,696,988,141 1,356,894,545 ส่วนที่เกินสินทรัพย์สุทธิของ เงินลงทุนในบริษัทย่อย (หมายเหตุ 3) 95,597,845 162,322,716 - - ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย - สุทธิ 102,267,098 90,427,933 53,524,715 40,000,707 เงินมัดจำ เงินประกันและอื่น ๆ 91,546,729 380,985,030 28,440,396 22,225,628 รวม 1,986,399,813 1,992,581,470 1,778,953,252 1,419,120,880 6.10 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน บัญชีนี้ประกอบด้วย บา ท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2542 2541 2542 2541 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร 312,211,678 293,512,187 3,501,410 10,947,245 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร ในประเทศและต่างประเทศ 923,046,400 842,893,100 535,046,400 384,559,200 หนี้สินจากการรับรองตั๋วเงินและ จากการทำทรัสต์รีซีทส์ 211,056,553 396,357,094 203,720,810 347,155,281 ตั๋วเงินจ่าย 84,000,000 56,000,000 - - รวม 1,530,314,631 1,588,762,381 742,268,620 742,661,726 - 25 - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2542 และ 2541 บริษัทและบริษัทย่อยมีวงเงินเบิกเกิน บัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมกับสถาบันการเงินต่าง ๆ ในวงเงินรวม 2,749 ล้านบาท (775 ล้านบาท เฉพาะของบริษัท) และ 2,737 ล้านบาท (717 ล้านบาท เฉพาะของ บริษัท) ตามลำดับ โดยมีอัตราดอกเบี้ยในปี 2542 ระหว่างร้อยละ 7 ถึงร้อยละ 28 ต่อปี สำหรับเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศและอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.5 ถึงร้อยละ 2.9 ต่อปีสำหรับเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินต่างประเทศ และมีอัตราดอกเบี้ยในปี 2541 ร้อยละ 9 ถึงร้อยละ 28 ต่อปี สำหรับเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในประเทศและอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 2.1 ถึงร้อยละ 2.3 ต่อปี สำหรับเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินต่างประเทศ ตามเงื่อนไขของสัญญาเกี่ยวกับการทำทรัสต์รีซีทส์ บริษัทและบริษัทย่อยบางแห่ง นำเข้าสินค้าที่สั่งเข้ามาภายใต้การใช้เครดิตของธนาคาร ดังนั้น บริษัทและบริษัทย่อย ดังกล่าวจึงต้องมีภาระผูกพันต่อธนาคารสำหรับสินค้าดังกล่าวทั้งที่คงเหลืออยู่หรือขายไป 6.11 เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม บัญชีนี้ประกอบด้วย พันบาท อัตราดอกเบี้ย จำนวนเงิน วัตถุประสงค์ 2542 2541 2542 2541 เงินกู้ยืมระยะสั้น บริษัท เอเชีย แปซิฟิค โพสต์ จำกัด เพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจ 15.75% 15.75% - 33,477 บริษัท ซีทีดับบลิว เบต้า จำกัด เพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจ 12.75% 12.75% 9,000 4,500 เงินทดรอง กิจการร่วมค้า บริษัท ล็อกซเล่ย์ ยูทีลิตี้ เซอร์วิส จำกัด และ หจก. ศิริพงษ์ ก่อสร้าง เพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจ - - 6,310 10,918 อื่น ๆ 5,358 4,857 รวมเงินกู้ยืมระยะสั้น และเงินทดรองจาก บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 20,668 53,752 - 26 - 6.12 เงินกู้ยืมระยะยาว ในเดือนมีนาคม 2537 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากู้ยืมเงินกับธนาคารใน ประเทศแห่งหนึ่ง โดยได้รับวงเงินสินเชื่อเป็นจำนวนเงินรวม 400 ล้านบาท ซึ่งแบ่งเป็นเงินกู้ สกุลเหรียญสหรัฐอเมริกาเทียบเท่าเงินสกุลบาท และเงินกู้สกุลบาทรวม 2 จำนวน ๆ ละ 200 ล้านบาทเท่า ๆ กัน โดยเงินกู้ยืมจำนวนแรกมีดอกเบี้ยตามอัตรา SINGAPORE INTERBANK OFFERED RATE (SIBOR) บวกร้อยละ 2 ต่อปี ส่วนเงินกู้ยืมจำนวนที่สองมี ดอกเบี้ยตามอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำ (MLR) ที่ประกาศโดยธนาคารในประเทศแห่งหนึ่งเงิน กู้ยืมนี้มีกำหนดชำระคืนเป็นงวดทุกงวดสามเดือนรวม 32 งวด โดยเริ่มชำระงวดแรกภาย หลังครบกำหนดระยะเวลา 2 ปีนับแต่วันเบิกเงินกู้ เงินกู้ยืมนี้ค้ำประกันโดยการ จดจำนองที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างของบริษัทย่อย ต่อมาในเดือนพฤษภาคม 2540 บริษัท ย่อยดังกล่าวได้ทำสัญญาเปลี่ยนสกุลเงินของเงินกู้จากสกุลเหรียญสหรัฐอเมริกาเป็นเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ตกลงกันเป็นจำนวนเงินประมาณ 178.8 ล้านบาท และได้เปลี่ยน อัตราดอกเบี้ยเป็นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำ (MLR) ที่ประกาศโดยธนาคารผู้ให้กู้ ต่อมาใน เดือนสิงหาคม 2541 บริษัทย่อยได้มีการเจรจาขอเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการจ่ายชำระคืนเงินกู้ กับธนาคารผู้ให้กู้และได้รับอนุมัติให้ขยายระยะเวลาปลอดเงินต้นออกไปอีก 26 เดือนนับ ตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2541 ส่วนดอกเบี้ยให้ชำระเป็นรายเดือน ในเดือนตุลาคม 2537 และกันยายน 2538 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากู้ยืม เงินจากธนาคารในประเทศแห่งหนึ่งเป็นจำนวนเงิน 60 ล้านบาท และ 15 ล้านบาท โดยมี กำหนดชำระคืนเป็นงวดสิ้นสุดเดือนตุลาคม 2543 และเดือนกันยายน 2543 ตามลำดับ เงินกู้ยืมนี้ค้ำประกันโดยการจำนองเครื่องจักรและอุปกรณ์ดำเนินงานของบริษัทย่อยจน กระทั่งถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2542 บริษัทย่อยผิดนัดชำระคืน เงินกู้ยืมที่ครบกำหนดชำระ เป็นจำนวนเงินรวม 58.5 ล้านบาท ดังนั้น บริษัทย่อยจึงบันทึกจำนวนเงินกู้ยืมดังกล่าว จำนวน 66 ล้านบาท ไว้ในบัญชี "ส่วนของเงินกู้ระยะยาวที่ครบกำหนดชำระภายในหนึ่งปี" ในงบการเงินรวม ในเดือนธันวาคม 2540 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากู้ยืมเงินจากธนาคารใน ประเทศแห่งหนึ่งเป็นจำนวนเงิน 50 ล้านบาท โดยมีกำหนดชำระคืนเป็นรายเดือนตาม จำนวนที่กำหนดในสัญญา โดยเริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2541 เงินกู้ยืมนี้ค้ำประกันโดย บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง บริษัทย่อยได้จ่ายชำระคืนเงินกู้นี้ทั้งจำนวนแล้วในปี 2542 - 27 - 6.13 หุ้นกู้แปลงสภาพสกุลเงินต่างประเทศ ในระหว่างไตรมาสที่สองของปี 2538 บริษัทออกหุ้นกู้แปลงสภาพสกุลเงิน ต่างประเทศจำหน่ายในต่างประเทศในราคาตามมูลค่าที่ตราไว้เป็นจำนวนทั้งสิ้น 100 ล้าน เหรียญสหรัฐอเมริกา (แบ่งเป็น 100,000 หุ้น โดยมีมูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา) หรือเทียบเท่าเป็นเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้คงที่เมื่อ ครบกำหนดแปลงสภาพหรือไถ่ถอนเท่ากับ 2,455 ล้านบาท (ECD 1) หุ้นกู้นี้มีดอกเบี้ย ในอัตรา ร้อยละ 3.5 ต่อปี หลังภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย โดยจะครบกำหนดไถ่ถอนใน วัน ที่ 20 เมษายน 2548 อย่างไรก็ตาม ผู้ถือหุ้นกู้สามารถใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้น สามัญของบริษัทในราคาแปลงสภาพหุ้นละ 500 บาท ณ เวลาใดเวลาหนึ่งก็ได้ในระหว่างวัน ที่ 20 กรกฎาคม 2538 ถึงวันที่ 20 มีนาคม 2548 หรือใช้สิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ก่อนกำหนดใน วันที่ 20 เมษายน 2543 ในราคาบวกส่วนเพิ่มแล้วรวมเป็นหุ้นละ 1,310 เหรียญสหรัฐ อเมริกา ทั้งนี้ต้องเข้าเงื่อนไขและข้อกำหนดบางประการตามที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน นอก จากนี้ บริษัทสามารถใช้สิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้บางส่วนหรือทั้งหมดก่อนกำหนดได้ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2541 จนถึงวันที่ 20 เมษายน 2543 ในราคาบวกส่วนเพิ่มต่าง ๆ กันรวมเป็น หุ้นละ 1,237 หรือ 1,310 เหรียญสหรัฐอเมริกาขึ้นกับระยะเวลาที่ไถ่ถอน ทั้งนี้บริษัทต้อง ปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกำหนดบางประการที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน ในระหว่างไตรมาสที่สองของปี 2539 บริษัทออกหุ้นกู้แปลงสภาพสกุลเงินตรา ต่างประเทศจำหน่ายในต่างประเทศเพิ่มเติมในราคาตามมูลค่าที่ตราไว้เป็นจำนวนทั้งสิ้น 105 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (แบ่งเป็น 105,000 หุ้น โดยมีมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา) หรือเทียบเท่าเป็นเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้คงที่ เมื่อครบกำหนดแปลงสภาพเท่ากับ 2,646 ล้านบาท (ECD 2) หุ้นกู้นี้มีดอกเบี้ยในอัตรา ร้อยละ 2.5 ต่อปี หลังภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย โดยจะครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 4 เมษายน 2544 อย่างไรก็ตาม ผู้ถือหุ้นกู้สามารถใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญของ บริษัทในราคาแปลงสภาพหุ้นละ 450 บาท ณ เวลาใดเวลาหนึ่งก็ได้ในระหว่างวันที่ 4 กรกฎาคม 2539 ถึงวันที่ 4 มีนาคม 2544 นอกจากนี้ บริษัทสามารถใช้สิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ บางส่วนหรือ ทั้งหมดก่อนกำหนดได้ตั้งแต่เดือนเมษายน 2542 จนถึงวันที่ 3 เมษายน 2544 ในราคาบวกส่วนเพิ่มแล้วรวมเป็นหุ้นละ 1,210 เหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2543 และ 1,272 เหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2544 ทั้งนี้บริษัทต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อ กำหนดที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน - 28 - เกี่ยวเนื่องกับการออกหุ้นกู้ดังกล่าวข้างต้น ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2538 ผู้ถือหุ้นมีมติให้บริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจาก 400 ล้านบาท (แบ่งเป็น 40 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) เป็น 460 ล้านบาท (แบ่งเป็น 46 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) และต่อมาได้มีมติเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2539 ให้เพิ่มทุนจดทะเบียน ของบริษัทจาก 460 ล้านบาท (แบ่งเป็น 46 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) เป็น 520 ล้านบาท (แบ่งเป็น 52 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) โดยให้สำรองหุ้นสามัญจำนวนรวม 12 ล้านหุ้นที่เพิ่มนี้เพื่อรองรับการใช้สิทธิในการแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญ บริษัทได้ จดทะเบียนมติเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2538 และวันที่ 20 มีนาคม 2539 ตามลำดับ เริ่มตั้งแต่ปี 2539 เป็นต้นมา ราคาตลาดของหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยโดยทั่วไปรวมทั้งของบริษัทตกต่ำอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่ผู้ถือหุ้นกู้อาจไม่ นำหุ้นกู้มาแปลงสภาพตามจำนวนที่ประมาณไว้ทั้งหมด ดังนั้น บริษัทจึงถือเป็นนโยบายที่จะ ตั้งสำรองค่าใช้จ่ายทางการเงินสำหรับส่วนเพิ่มที่จะต้องจ่ายหากผู้ถือหุ้นกู้ใช้สิทธิไถ่ถอนก่อน กำหนดในอัตราร้อยละ 80 ของส่วนเพิ่มทั้งหมดที่ต้องจ่าย ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นกู้ทั้งหมดใช้ สิทธิไถ่ถอนก่อนกำหนดโดยเฉลี่ยตามระยะเวลาที่ให้สิทธิไถ่ถอนก่อนกำหนด อย่างไรก็ตาม ในไตรมาสที่สี่ของปี 2542 บริษัทได้ตั้งสำรองค่าใช้จ่ายทางการเงินส่วนเพิ่มของ ECD 1 เป็นร้อยละ 100 เนื่องจาก ECD1 ใกล้ถึงช่วงเวลาของการใช้สิทธิแปลงสภาพก่อนกำหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2542 สำรองค่าใช้จ่ายทางการเงินดังกล่าวมีจำนวนเงินรวมทั้งสิ้น ประมาณ 1,744.3 ล้านบาท (รวมสำรองค่าใช้จ่ายทางการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2542 จำนวนประมาณ 582.6 ล้านบาท) เนื่องจากใกล้ถึงช่วงเวลาของการใช้ สิทธิแปลงสภาพก่อนกำหนด ดังนั้น บริษัทได้แต่งตั้งที่ปรึกษาทางการเงินเพื่อให้ความช่วย เหลือในการปรับโครงสร้างหนี้ของหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าวใหม่ ในเบื้องต้น ผู้ถือหุ้นกู้ได้ ผ่อนผันระยะเวลาการชำระคืนดอกเบี้ยของหุ้นกู้ที่ถึงกำหนดชำระจำนวนเงินรวมประมาณ 6.8 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (เทียบเท่า 256.8 ล้านบาท) ออกไปอีกหนึ่งร้อยแปดสิบ (180) วัน นับจากวันที่ 7 ตุลาคม 2542 ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการเจรจาแนวทางปรับปรุง โครงสร้างหนี้กับบริษัท อนึ่ง กลุ่มผู้ถือหุ้นกู้ได้ยื่นข้อเสนอในเรื่องการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ต่อบริษัท และฝ่ายบริหารของบริษัทเห็นด้วยในเบื้องต้นกับข้อเสนอดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัทยังอยู่ในระหว่างการเจรจาต่อรองในเงื่อนไขต่าง ๆ บริษัทคาดว่าจะสามารถได้ข้อสรุป ในส่วนที่เกี่ยวกับรายละเอียดของสัญญาที่เกี่ยวข้อง และจะสามารถลงนามในสัญญาได้ใน ระยะเวลาอันใกล้นี้ - 29 - 6.14 เงินทุนเลี้ยงชีพพนักงาน บริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งจัดให้มีเงินกองทุนเลี้ยงชีพประเภทจ่ายสมทบ สำหรับพนักงานเกือบทั้งหมด พนักงานจะเข้าเป็นสมาชิกได้เมื่อเป็นพนักงานประจำแล้ว ทั้งนี้ พนักงานจะจ่ายเข้ากองทุนทุกเดือนเท่ากับร้อยละ 5 ของเงินเดือน และบริษัทและบริษัทย่อย บางแห่งจะตั้งสำรองเป็นรายเดือนในอัตราต่าง ๆ กันของเงินเดือนพนักงาน ซึ่งขึ้นอยู่กับ ระยะเวลาทำงานของพนักงานแต่ละคน ยอดที่บริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งตั้งสำรอง สำหรับปีและบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานมีจำนวนเงิน ประมาณ 6.9 ล้านบาท (5.5 ล้านบาท เฉพาะของบริษัท) ในปี 2542 และ 12.1 ล้านบาท (7.5 ล้านบาท เฉพาะ ของบริษัท) ในปี 2541 6.15 สำรองตามกฎหมาย บัญชีนี้ได้แก่เงินสำรองที่บริษัทจัดสรรสะสมตามพระราชบัญญัติกฎหมายมหาชน ซึ่งกำหนดให้บริษัทจัดสรรสำรองตามกฎหมายอย่างน้อยร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิสำหรับปี หลังจากหักยอดขาดทุนสะสมต้นปี (ถ้ามี) จนกว่าสำรองตามกฎหมายจะมียอดเป็นร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท สำรองตามกฎหมายนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ 6.16 ค่าธรรมเนียมและรายได้อื่น บัญชีนี้ประกอบด้วย บา ท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2542 2541 2542 2541 กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุน 18,533,468 132,775,846 2,118,467 188,399,765 ดอกเบี้ยรับ 169,456,125 273,999,703 148,214,261 247,342,447 เงินปันผล ค่าธรรมเนียม ค่าบริการและอื่น ๆ 141,614,618 467,765,191 174,849,434 240,380,796 รวม 329,604,211 874,540,740 325,182,162 676,123,008 - 30 - 6.17 ค่าใช้จ่ายอื่น บัญชีนี้ประกอบด้วย บา ท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท 2542 2541 2542 2541 สำรองค่าใช้จ่ายจากการใช้ สิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้แปลง สภาพก่อนกำหนด (หมายเหตุ 6.13) 582,633,445 391,420,126 582,633,445 391,420,126 ค่าเบี้ยปรับให้หน่วยราชการ - 141,557,947 - 141,557,947 หนี้สงสัยจะสูญ 303,449,705 14,192,723 9,018,086 14,192,723 อื่น ๆ 1,612,213 96,230,966 583,417 21,770,472 รวม 887,695,363 643,401,762 592,234,948 568,941,268 6.18 กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทและบริษัทย่อยมีผลกำไร (ขาดทุน) สุทธิจากการชำระหนี้สินและรับชำระทรัพย์สิน ที่เป็นเงินตราต่างประเทศในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2542 และ 2541 และจากการ แปลงค่าหนี้สินสุทธิที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2542 และ 2541 โดยการใช้ อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันดังกล่าวเป็นจำนวนรวมทั้งสิ้นประมาณ 286.3 ล้านบาท (ขาดทุน) และ 2,247.3 ล้านบาท (กำไร) ตามลำดับ สำหรับงบการเงินรวม และ 292.6 ล้านบาท (ขาดทุน) และ 2,241.8 ล้านบาท (กำไร) ตามลำดับ สำหรับงบการเงินเฉพาะบริษัท ซึ่งได้แสดงแยกเป็นรายการ ต่างหากในงบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2542 และ 2541 - 31 - 6.19 ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน รายละเอียดข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน สำหรับปี 2542 และ 2541 มี ดังนี้ งบการเงินรวม ล้านบาท ธุรกิจสายระบบสารสนเทศ ธุรกิจสายการค้า-อุตสาหกรรม อื่น ๆ รวม 2542 2541 2542 2541 2542 2541 2542 2541 ขายสุทธิ 3,773 4,486 3,178 3,445 218 177 7,169 8,108 ต้นทุนขาย (2,576) (3,332) (2,678) (2,924) (140) (124) (5,394) (6,380) กำไรขั้นต้น 1,197 1,154 500 521 78 53 1,775 1,728 กำไรจากการดำเนินงาน 156 170 171 171 206 312 533 653 เงินปันผลรับจากเงิน ลงทุนในบริษัทอื่น 26 16 ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง (355) (201) ดอกเบี้ยจ่าย (427) (565) ค่าตอบแทนกรรมการ (4) (4) ค่าใช้จ่ายอื่น (888) (643) ส่วนได้เสียในผลการ ดำเนินงานของ บริษัทร่วม - สุทธิ 309 261 กำไร (ขาดทุน) จาก อัตราแลกเปลี่ยน (285) 2,247 ภาษีเงินได้ 304 (472) ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยในกำไร สุทธิของบริษัทย่อย (29) (20) กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (816) 1,272 สินทรัพย์ถาวร - สุทธิ 1,028 962 26 20 936 1,065 1,989 2,047 สินทรัพย์อื่น 12,062 10,533 สินทรัพย์รวม 14,051 12,580 - 32 - งบการเงินเฉพาะบริษัท ล้านบาท ธุรกิจสายการค้า- ธุรกิจสายระบบสารสนเทศ อุตสาหกรรม อื่น ๆ รวม 2542 2541 2542 2541 2542 2541 2542 2541 ขายสุทธิ 1,634 2,246 820 1,151 81 70 2,535 3,467 ต้นทุนขาย (1,332) (1,947) (636) (952) (49) (43) (2,017) ( 2,942) กำไรขั้นต้น 302 299 184 199 32 27 518 525 กำไรจากการดำเนินงาน 63 ( 14) 98 30 205 346 366 362 เงินปันผลรับจากเงิน ลงทุนในบริษัทอื่น 26 16 ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง (355) (201) ดอกเบี้ยจ่าย (292) (342) ค่าตอบแทนกรรมการ (2) (2) ค่าใช้จ่ายอื่น (593) (569) ส่วนได้เสียในผลการ ดำเนินงานของ บริษัทย่อยและ บริษัทร่วม - สุทธิ 27 239 กำไร (ขาดทุน) จาก อัตราแลกเปลี่ยน (293) 2,242 ภาษีเงินได้ 340 (428) กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (776) 1,317 สินทรัพย์ถาวร - สุทธิ 70 30 14 11 518 627 602 668 สินทรัพย์อื่น 10,835 9,274 สินทรัพย์รวม 11,437 9,942 - 33 - บริษัทและบริษัทย่อยประกอบธุรกิจ 2 ประเภทหลัก กล่าวคือ ธุรกิจสายระบบ สารสนเทศ และธุรกิจสายการค้าอุตสาหกรรม กำไรจากการดำเนินงานของแต่ละส่วนงานเกิดขึ้นจากยอดรายได้รวมหักด้วย ต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน โดยค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ดอกเบี้ยจ่าย ค่าตอบแทน กรรมการค่าใช้จ่ายอื่นและภาษีเงินได้ไม่ได้รวมอยู่ในการคำนวณกำไรจากการดำเนินงาน ของส่วนงาน สินทรัพย์ถาวรของแต่ละส่วนงานเป็นสินทรัพย์ที่ใช้ในการดำเนินงานของส่วน งานนั้น ๆ ส่วนสินทรัพย์อื่น ๆ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินสดและเงินฝากธนาคาร สินค้าคง เหลือและเงินลงทุนในหลักทรัพย์อื่น 6.20 สัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2542 และ 2541 ก) บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาร่วมค้ากับบริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จำกัด บริษัท ล็อกซเล่ย์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด และบริษัท ไอบีเอ็ม เวิลด์เทรด คอร์ปอเรชั่น จำกัดเพื่อเข้าร่วมดำเนินการจัดหาระบบเบ็ดเสร็จสำหรับโครงการบันทึก ข้อมูลภาษีด้วยคอมพิวเตอร์กับกรมสรรพากรในมูลค่าตามสัญญารวม 1,814 ล้านบาท ซึ่งบริษัทย่อยดังกล่าวรับผิดชอบในอัตราร้อยละ 44.738 ของผลได้ผลเสียอัน เกิดจากกิจการร่วมค้า ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2541 สัญญาตั้งกิจการร่วมค้าดังกล่าวได้ถูกยกเลิก ในการนี้ทำให้เกิดผลเสียหายสุทธิกับบริษัทย่อยขึ้นจำนวนเงินประมาณ 37 ล้านบาท ซึ่งบันทึกไว้เป็นค่าใช้จ่ายในงบการเงินรวมนี้แล้ว ข) บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญากับองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทศท.) โดยได้รับสัมปทานการให้บริการวิทยุติดตามตัวภายในระยะเวลาที่กำหนดใน สัญญา ภายใต้เงื่อนไขของสัญญา บริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องโอนกรรมสิทธิ์ใน อุปกรณ์การสื่อสารให้องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยโดยมีสิทธิใช้อุปกรณ์ดังกล่าว ตลอดอายุของสัมปทานและต้องจ่ายผลประโยชน์ให้กับองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศ ไทยในอัตราที่ระบุในสัญญา บริษัทย่อยได้มอบหนังสือค้ำประกันธนาคารเป็นจำนวน เงิน 141.7 ล้านบาท เพื่อเป็นหลักประกันแก่องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ส่วน หนึ่งของหนังสือค้ำประกันธนาคารนี้ค้ำประกันโดยเงินฝากประจำจำนวนเงินประมาณ 18.7 ล้านบาท - 34 - ค) บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาร่วมลงทุนในการให้บริการรับ-ส่งสัญญาณโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมกับการสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.) ภายใต้ข้อกำหนดของสัญญา ดังกล่าว บริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องลงทุนจัดหา ติดตั้ง และควบคุมตลอดจน บำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ตามที่ตกลงในสัญญา นอกจากนี้ บริษัทย่อยจะต้อง โอนกรรมสิทธิในเครื่องมือและอุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่ กสท. นับตั้งแต่วันแรกที่เปิดให้บริการ สัญญานี้มีกำหนดระยะเวลายี่สิบสอง (22) ปี เริ่มตั้งแต่วัน แรกที่เปิดให้บริการหรือครบกำหนดสิบสอง (12) เดือนนับตั้งแต่วันที่ในสัญญาแล้ว แต่วันใดจะ เกิดขึ้นก่อน โดยบริษัทย่อยไม่มีสิทธิเลิกสัญญาเว้นแต่จะเข้ากรณีตามที่ กำหนดในสัญญา ในการนี้ บริษัทย่อยมีสิทธิที่จะเรียกเก็บค่าบริการ และค่าธรรมเนียม อื่น ๆ จากผู้ใช้บริการตามที่ระบุไว้ในสัญญา ง) บริษัทย่อยสองแห่งมีสัญญาร่วมลงทุนในการให้บริการฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์กับการ สื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.) ภายใต้ข้อกำหนดของสัญญาดังกล่าว บริษัทย่อย มีภาระผูกพันที่จะต้องลงทุนจัดหา ติดตั้ง และควบคุม ตลอดจนบำรุงรักษาเครื่องมือ และอุปกรณ์ตามที่ตกลงในสัญญา นอกจากนี้บริษัทย่อยจะต้องโอนกรรมสิทธิในเครื่อง มือและอุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่ กสท. นับตั้งแต่วันแรกที่เปิดให้บริการ สัญญานี้มีกำหนดระยะเวลาสิบ (10) ปี เริ่มตั้งแต่วันแรกที่เปิดบริการ โดยบริษัทย่อยไม่มีสิทธิเลิกสัญญาเว้นแต่จะเข้ากรณีตามที่กำหนดไว้ในสัญญา ในการนี้ บริษัทย่อยมีสิทธิที่จะเรียกเก็บค่าบริการ และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ จากผู้ใช้บริการตามที่ ระบุไว้ในสัญญา จ) บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีสัญญาร่วมค้ากับหน่วยงานราชการของต่างประเทศแห่งหนึ่งเพื่อ วางระบบและให้บริการด้านโทรคมนาคมในพื้นที่ที่ตกลงกัน ภายใต้ข้อกำหนดของ สัญญาดังกล่าว บริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องลงทุนจัดหา ติดตั้ง และควบคุม (ยังมีต่อ)