การเงินระหว่างกาล สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543
15 August 2000
สำรองตามกฎหมาย
ยอดต้นงวด 52,000 52,000 52,000 52,000
เพิ่มระหว่างงวด - - - -
ยอดสิ้นงวด 52,000 52,000 52,000 52,000
ที่ยังไม่ได้จัดสรร (ขาดทุนสะสม)
ยอดต้นงวด ( 2,500,607) ( 1,612,039) ( 2,311,781) ( 1,463,121)
ปรับปรุงผลสะสมย้อนหลัง
- จากการเปลี่ยนแปลงหน่วยงานที่
เสนอรายงาน (หมายเหตุ 3) 50,098 45,332 - -
- ตามการตีความในเรื่องรายจ่าย
ที่เคยบันทึกไว้เป็นสินทรัพย์
(หมายเหตุ 4.2) - ( 72,877) - ( 72,877)
หลังการปรับปรุง ( 2,450,509) ( 1,639,584) ( 2,311,781) ( 1,535,998)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ( 621,831) 63,349 ( 617,928) 52,209
ยอดสิ้นงวด ( 3,072,340) ( 1,576,235) ( 2,929,709) ( 1,483,789)
"ยังไม่ได้ตรวจสอบ"
"สอบทานแล้ว"
- 2 -
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
พันบาท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท
30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน
2543 2542 2543 2542
(ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)
ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย 389,154 416,229 - -
ส่วนเกิน (ต่ำกว่า) ทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า
หลักทรัพย์เผื่อขาย (หมายเหตุ 4.1 และ 6.6) ( 845,632) 408,488 ( 845,632) 408,488
ผลสะสมของการปรับปรุงที่เกิดจากการแปลงค่า
งบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ( 230,931) ( 166,197) ( 230,931) ( 166,197)
ส่วนของผู้ถือหุ้น - สุทธิ ( 1,112,192) 1,224,767 ( 1,358,715) 900,984
โปรดดูรายงานการสอบทานของนายวิเชียร ธรรมตระกูล
ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2543 และหมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาล
"ยังไม่ได้ตรวจสอบ"
"สอบทานแล้ว"
บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกระแสเงินสด
สำหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ 2542
พันบาท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท
30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน
2543 2542 2543 2542
(ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ( 621,831) 63,349 ( 617,928) 52,209
ปรับกระทบกำไร (ขาดทุน) สุทธิเป็นเงินสดรับ
(จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน:
ค่าเสื่อมราคา 120,143 120,302 54,280 56,924
ตั้งค่าเผื่อการไถ่ถอนหุ้นกู้จากการ
ไม่ใช้สิทธิแปลงสภาพ 158,523 177,977 158,523 177,977
ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน
เงินตราต่างประเทศ 396,465 17,680 396,465 17,680
ตั้ง (โอนกลับ) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 26,964 ( 720) - ( 1,291)
โอนกลับค่าเผื่อขาดทุนจากมูลค่าลดลง
ของสินค้า ( 8,932) ( 7,257) ( 10,340) ( 7,265)
ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจากดอกเบี้ย
เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 45,588 - 45,588 -
ตั้งค่าเผื่อขาดทุนจากมูลค่าลดลง
ของเงินลงทุน 1,463 - 1,463 -
ค่าเผื่อผลขาดทุนจากมูลค่าลดลงของภาษี
เงินได้หัก ณ ที่จ่าย 5,847 2,401 - -
จำนวนเงินลงทุนในบริษัทย่อยส่วนเกินกว่า
สินทรัพย์สุทธิตัดบัญชี 7,233 9,218 - -
สำรองเผื่อเงินสมทบเข้า
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน - สุทธิ 6,475 5,044 4,902 3,095
กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุน - สุทธิ ( 124) ( 5,413) ( 124) -
ส่วนได้เสียในผลการดำเนินงาน
ของบริษัทร่วม - สุทธิ ( 156,438) ( 164,857) ( 207,112) ( 174,382)
ส่วนได้เสียในผลการดำเนินงาน
ของบริษัทย่อย - สุทธิ - - 93,835 ( 28,130)
ส่วนปรับปรุงจากการแปลงค่า
งบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ - 7,378 - -
ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่าย
สินทรัพย์ถาวร ( 8,456) 9,944 617 ( 4,670)
"ยังไม่ได้ตรวจสอบ"
"สอบทานแล้ว"
- 2 -
พันบาท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท
30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน
2543 2542 2543 2542
(ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)
เงินฝากประจำที่ใช้เป็นหลักทรัพย์
ค้ำประกันเพิ่มขึ้น ( 1,620) ( 389) - -
ลูกหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
- การค้าและอื่น ๆ ลดลง (เพิ่มขึ้น) ( 26,318) ( 109,041) 59,785 13,857
ลูกหนี้การค้าและอื่น ๆ ลดลง (เพิ่มขึ้น) 238,791 ( 296,061) 120,383 ( 220,340)
สินค้าคงเหลือลดลง 30,739 125,305 15,901 118,156
ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเพิ่มขึ้น - ( 56,808) - ( 56,808)
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น ( 46,362) ( 31,816) ( 48,315) ( 60,245)
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายเพิ่มขึ้น ( 15,069) ( 9,551) ( 6,234) ( 4,849)
เงินมัดจำและอื่น ๆ เพิ่มขึ้น ( 1,473) ( 39,413) ( 2,135) ( 3,808)
เจ้าหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
- การค้าเพิ่มขึ้น (ลดลง) ( 14,953) 21,086 10,622 ( 2,882)
เจ้าหนี้การค้าลดลง ( 166,656) ( 87,143) ( 67,650) ( 13,817)
เงินมัดจำและเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าเพิ่มขึ้น
(ลดลง) ( 50,094) 116,658 ( 18,927) 37,434
ภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพิ่มขึ้น (ลดลง) 5,638 ( 5,824) - -
เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน
ลดลง - สุทธิ ( 2,145) ( 11,140) ( 574) ( 8,296)
หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 137,303 6,060 105,819 17,527
หนี้สินอื่นเพิ่มขึ้น 56,048 11,413 - -
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน)
กิจกรรมดำเนินงาน 116,749 ( 131,618) 88,844 ( 91,924)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม
บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและบริษัทอื่น
เพิ่มขึ้น ( 6,000) ( 168,961) - ( 130,000)
เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น ( 3,883) ( 7,164) ( 7,617) ( 14,500)
ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในกำไรสุทธิ
ของบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น (ลดลง) ( 42,975) 16,260 - -
สินทรัพย์ถาวรเพิ่มขึ้น ( 70,100) ( 69,172) ( 15,164) ( 28,484)
"ยังไม่ได้ตรวจสอบ"
"สอบทานแล้ว"
- 3 -
พันบาท
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท
30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน 30 มิถุนายน
2543 2542 2543 2542
(ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)
เงินสดปันผลรับจากบริษัทร่วม 186,050 135,558 211,050 135,558
เงินสดรับจากการจำหน่ายเงินลงทุน 4,411 23,650 4,411 -
เงินสดรับจากการจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร 13,508 43,519 10,694 6,503
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน)
กิจกรรมลงทุน 81,011 ( 26,310) 203,374 ( 30,923)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) 62,167 ( 143,259) 29,527 ( 142,408)
ตั๋วเงินจ่ายเพิ่มขึ้น - 10,000 - -
เงินกู้ยืมจากกรรมการเพิ่มขึ้น (ลดลง) ( 4,729) 48 - -
เงินกู้ยืมระยะยาวลดลง - สุทธิ - ( 16,664) - -
เงินกู้ยืมและเงินทดรองจากบริษัท
ที่เกี่ยวข้องกันลดลง ( 3,886) ( 34,501) - -
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน)
กิจกรรมจัดหาเงิน 53,552 ( 184,376) 29,527 ( 142,408)
เงินสดสุทธิและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น
(ลดลง) 251,312 ( 342,304) 321,745 ( 265,255)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด 1,443,621 1,741,253 1,320,894 1,515,167
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นงวด 1,694,933 1,398,949 1,642,639 1,249,912
ข้อมูลงบกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
ประกอบด้วย
เงินสดและเงินฝากธนาคาร
(ไม่รวมเงินฝากประจำที่ใช้เป็น
หลักทรัพย์ค้ำประกัน) 346,326 337,653 167,223 146,214
เงินลงทุนระยะสั้น 1,544,271 1,258,895 1,478,219 1,108,248
เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ( 195,664) ( 197,599) ( 2,803) ( 4,550)
รวม 1,694,933 1,398,949 1,642,639 1,249,912
เงินสดจ่ายในระหว่างงวด
ดอกเบี้ยจ่าย 51,377 92,744 16,153 16,165
ภาษีเงินได้ 44,376 49,328 6,234 4,849
โปรดดูรายงานการสอบทานของนายวิเชียร ธรรมตระกูล
ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2543 และหมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาล
บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
วันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ 2542 (สอบทานแล้ว)
และ 31 ธันวาคม 2542 (ตรวจสอบแล้ว)
1. หลักการจัดทำงบการเงินระหว่างกาล
งบการเงินระหว่างกาลนี้ได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 เรื่อง "งบการเงินระหว่างกาล"
และตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรื่องที่เกี่ยวกับการบัญชี
งบการเงินระหว่างกาลนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติมจากงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2542
โดยเน้นการให้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันเกี่ยวกับกิจกรรม เหตุการณ์ และ สถานการณ์ใหม่ ๆ เพื่อไม่ให้ข้อมูลที่นำเสนอซ้ำซ้อน
กับข้อมูลที่ได้รายงานไปแล้ว ดังนั้น งบการเงินระหว่างกาลนี้ควรต้องอ่านควบคู่กับงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31
ธันวาคม 2542
บริษัทได้จัดทำบัญชีโดยบันทึกเป็นเงินบาทและได้จัดทำงบการเงินระหว่างกาลเป็นภาษาไทยตามหลักการบัญชีที่รับรอง
ทั่วไปในประเทศไทยซึ่งอาจแตกต่างจากหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศอื่น ๆ ทั้งนี้ งบการเงินของบริษัทไม่ได้มี
วัตถุประสงค์ที่จะแสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศอื่น
ที่ไม่ใช่ประเทศไทย ดังนั้น งบการเงินระหว่างกาลนี้จึงไม่ได้จัดทำขึ้นเพื่อประโยชน์สำหรับบุคคลที่ไม่ทราบถึงหลักการบัญชีและ
วิธีการปฏิบัติทางบัญชีในประเทศไทย
เพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงิน บริษัทได้จัดทำงบการเงินฉบับภาษาอังกฤษขึ้นจากงบการเงินฉบับภาษาไทยน
ซึ่งบริษัทนำเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ของการรายงานภายในประเทศ
2. ผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
งบการเงินที่เสนอนี้ได้จัดทำขึ้นโดยถือปฏิบัติตามข้อสมมติฐานทางบัญชีที่ว่าบริษัทจะดำเนินกิจการอย่างต่อเนื่อง และได
รวมผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจที่มีต่อบริษัทเท่าที่ฝ่ายบริหารทราบ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและความผันผวนของ
ค่าเงินบาทที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางปี 2540 ยังคงมีผลต่อการดำเนินงานของบริษัทอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าในรอบบัญชีที่ผ่านมาจนถึง
ปัจจุบันความผันผวนของค่าเงินบาทได้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น มีการลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมและสถาบันการเงินในประเทศ
ปล่อยสินเชื่อให้แก่ภาคธุรกิจเอกชนมากขึ้นก็ตาม แต่เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำโดยทั่วไปในภูมิภาคนี้ ทำให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
ภายในประเทศเป็นไปได้ช้า อย่างไรก็ตาม ฝ่ายบริหารของบริษัทได้กำหนดแผนงานและมาตรการต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับ
ผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจนี้ เช่น
- 2 -
ก) การสอบทานเพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ที่จะดำเนินการตามโครงการลงทุนต่าง ๆ ต่อไป
ข) การเจรจาขอปรับปรุงโครงสร้างหนี้ของหุ้นกู้แปลงสภาพสกุลเงินตราต่างประเทศจากกลุ่ม
ผู้ถือหุ้นกู้
ค) มีมาตรการที่จะลดการถือครองเงินลงทุนในธุรกิจที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักของบริษัท
ง) การกำหนดวิธีการควบคุมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานและลดค่าใช้จ่ายในเวลา
เดียวกัน
ภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำในประเทศและภาคพื้นเอเชียแปซิฟิคส่งผลกระทบต่อการ ดำเนินงานของบริษัท
ภาวะการณ์ดังกล่าวอาจเกิดต่อเนื่องและอาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลง
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ทำให้ภาระหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศของบริษัทและบริษัทย่อยเมื่อแปลง
ค่าเป็นเงินบาทเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งหนี้สินจากหุ้นกู้แปลงสภาพสกุลเงินตราต่างประเทศ(หมายเหตุ 6.9)
และเนื่องจากใกล้ถึงช่วงเวลาของการใช้สิทธิแปลงสภาพก่อน กำหนด ดังนั้น บริษัทได้แต่งตั้งบริษัทที่ปรึกษาทางการเงินเพื่อ
ให้ความช่วยเหลือในการปรับโครงสร้างหนี้ของหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าวใหม่ บริษัทอยู่ในระหว่างการเจรจาต่อรองเงื่อนไข
ของแนวทางการปรับโครงสร้างหนี้ที่เสนอโดยกลุ่มผู้ถือหุ้นกู้ ผลที่สุดของการดำเนินการเจรจาต่อรอง ดังกล่าวยังไม่สามารถ
คาดคะเนได้ดังนั้นการดำเนินงานต่อเนื่องต่อไปของบริษัทจึงขึ้นอยู่กับ ก) ผลสำเร็จในการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ดังกล่าว ข)
ความสามารถในการดำเนินธุรกิจให้ประสบ ผลสำเร็จและการจัดหาเงินทุนให้เพียงพอที่จะจ่ายชำระหนี้สินและจะมีกำไร
ทางภาษีในจำนวนที่เพียงพอที่จะสามารถใช้ประโยชน์จากภาษีเงินได้รอตัดบัญชี งบการเงินนี้จึงไม่ได้รวมรายการปรับปรุง
เกี่ยวกับมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืนและรายการจัดประเภทสินทรัพย์ใหม่ตลอดจนจำนวนและการจัดประเภทหนี้สินที่บริษัท
จะต้องชำระ ซึ่งอาจจำเป็นถ้าบริษัทไม่สามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่องได้
- 3 -
3. เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม
งบการเงินรวมนี้ได้รวมบัญชีของบริษัท ล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทต่าง ๆ ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัท
ล็อกซเล่ย์ จำกัด(มหาชน) ถือหุ้นโดยทางตรงหรือทางอ้อมหรือ บริษัทที่บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน) มีอำนาจควบคุม
ดังต่อไปนี้
อัตราร้อยละของหุ้นที่ถือครอง ณ วันที่
30 มิถุนายน 2543 31 ธันวาคม 2542
ทางตรง ทางอ้อม ทางตรง ทางอ้อม
บริษัทย่อย
บริษัท ล็อกซเล่ย์ บิสซิเนส อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลยี จำกัด 99 - 99 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ เมียนมาร์ จำกัด (ยังไม่ได้ประกอบพาณิชยกิจหลัก) 99 - 99 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ ไวร์เลส จำกัด 99 - 99 -
บริษัท จาโก จำกัด (ยังไม่ได้ประกอบพาณิชยกิจหลัก) 99 - 99 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ พลังงาน จำกัด (ยังไม่ได้ประกอบพาณิชยกิจหลัก) 99 - 99 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ ยูทีลิตี้ส์ เซอร์วิส จำกัด 90 - 90 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ บรอดคาสท์ แอนด์ มีเดีย จำกัด 74 - 74 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ คอมแวร์ จำกัด 70 - 70 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ นิวเท็ค จำกัด 67 - 67 -
บริษัท การค้าลาว จำกัด 67 - 67 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ แปซิฟิค จำกัด 63 - 63 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ อินฟรา จำกัด 60 - 60 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ เพจโฟน จำกัด 55 - 55 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ แซทเทลไลท์ คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด
(ยังไม่ได้ประกอบพาณิชยกิจหลัก) 51 - 51 -
บริษัท โปรเฟสชั่นนัล คอมพิวเตอร์ จำกัด - 99 - 99
บริษัท ล็อกซ์ดาต้า จำกัด - 99 - 99
บริษัท โอเพ่น ซิสเต็มส์ อินทิเกรเตอร์ จำกัด - 92 - 92
- 4 -
อัตราร้อยละของหุ้นที่ถือครอง ณ วันที่
30 มิถุนายน 2543 31 ธันวาคม 2542
ทางตรง ทางอ้อม ทางตรง ทางอ้อม
บริษัท ล็อกซเล่ย์ วีดีโอ โพสต์ (กรุงเทพ) จำกัด - 74 - 74
บริษัท ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส์ (ประเทศไทย) จำกัด - 55 - 55
บริษัทที่บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน) มีอำนาจควบคุม
บริษัท ล็อกซเล่ย์ เทรดดิ้ง จำกัด 50 - 50 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด 40 - 40 -
บริษัท นอร์ธ-อีสท์ เอเซีย เทเลโฟน แอนท์ เทเลคอมมูนิเคชั่น จำกัด - 49 - 49
รายการบัญชีที่เป็นสาระสำคัญที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัทและบริษัทย่อยต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นได้แสดงหักกลบลบกันใน
งบการเงินรวมนี้แล้ว
ในเดือนสิงหาคม 2540 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ซื้อหุ้นทุนของบริษัท ฮัทชิสัน เทเลคอม มิวนิเคชั่นส์ (ประเทศไทย)จำกัด
ทั้งหมดจากบริษัทและผู้ถือหุ้นรายอื่น ในการนี้ บริษัทย่อย ดังกล่าวต้องจ่ายเงินค่าซื้อหุ้นเกินกว่ามูลค่าสินทรัพย์สุทธิของบริษัท
ดังกล่าว ซึ่งได้แสดงไว้ในบัญชี "เงินลงทุนในบริษัทย่อยส่วนที่เกินกว่าสินทรัพย์สุทธิ" ภายใต้สินทรัพย์อื่น ซึ่งบริษัทย่อยตัดบัญชี
เป็นค่าใช้จ่ายภายในเวลาประมาณ 8 ปี ยอดคงเหลือที่ยังไม่ได้ตัดบัญชี ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2543 มีจำนวนเงินประมาณ
57.1 ล้านบาท
บริษัทได้นำงบการเงินของบริษัท ล็อกซเล่ย์ เทรดดิ้ง จำกัด ซึ่งบริษัทลงทุนไว้ร้อยละ 50 ในเดือนพฤษภาคม 2537
มารวมในการจัดทำงบการเงินรวมด้วย ทั้งนี้ เนื่องจากบริษัทมีอำนาจ ในการควบคุม ณ วันที่บริษัทซื้อหุ้นของบริษัท ล็อกซเล่ย์
เทรดดิ้ง จำกัด บริษัทได้จ่ายเงินค่าซื้อหุ้นเกินกว่ามูลค่าสินทรัพย์สุทธิของบริษัทดังกล่าว ซึ่งเป็นผลทำให้บริษัทต้องบันทึกผลต่างดังกล่าว
ไว้ในบัญชี "เงินลงทุนในบริษัทย่อยส่วนที่เกินกว่าสินทรัพย์สุทธิ" ภายใต้สินทรัพย์อื่น ซึ่งตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายภายในเวลา 15 ปี ณ
วันที่ 30 มิถุนายน 2543 ยอดคงเหลือที่ยังไม่ได้ตัดบัญชีมีจำนวนเงินประมาณ 30.9 ล้านบาท
- 5 -
ในระหว่างไตรมาสที่สามของปี 2539 บริษัทได้เข้าลงทุนในหุ้นทุนของบริษัท ล็อกซเล่ย์ ยูทีลิตี้ส์ เซอร์วิส จำกัด
จำนวน ร้อยละ 90 ในการนี้ บริษัทได้จ่ายเงินค่าหุ้นเกินกว่ามูลค่าสินทรัพย์สุทธิของบริษัทดังกล่าวซึ่งเป็นผลทำให้บริษัท
ต้องบันทึกผลต่างดังกล่าวไว้ในบัญชี "เงินลงทุนในบริษัทย่อยส่วนที่เกินกว่าสินทรัพย์สุทธิ" ภายใต้สินทรัพย์อื่น ซึ่งตัดบัญชี
เป็นค่าใช้จ่ายภายในเวลาประมาณ 15 ปี อย่างไรก็ตาม ในไตรมาสที่สามของปี 2542 บริษัทได้ตัดบัญชีดังกล่าวที่คงเหลือ
อยู่มีจำนวนเงินประมาณ 47.6 ล้านบาท เป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนในงบการเงินรวม เนื่องจากเงินลงทุนในบริษัทย่อยส่วนท
เกินกว่าสินทรัพย์สุทธิดังกล่าวไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ในอนาคต
ในระหว่างไตรมาสที่สามของปี 2542 บริษัท พอยท์ เอเซีย ดอท คอม (ประเทศไทย) จำกัด (เดิมชื่อ บริษัท
ล็อกซเล่ย์ อินฟอร์เมชั่น โฮลดิ้ง จำกัด) (PAD) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ล็อกซเล่ย์ บิสซิเนส อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลยี
จำกัด (LOXBIT) ได้ออกหุ้นเพิ่มทุนจำนวน 7.3 ล้านบาท จำหน่ายให้บุคคลภายนอกในราคา 138.4 ล้านบาท ต่อมา
LOXBIT ได้จำหน่ายเงินลงทุนในหุ้นทุนของ PAD ให้แก่บุคคลภายนอกอีกบางส่วน ทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของ LOXBIT
ใน PAD ลดลงสุทธิเหลือร้อยละ 66.67 ต่อมาในไตรมาสที่สี่ของปี 2542 PAD ได้ออกหุ้นเพิ่มทุนเพิ่มเติมอีกจำนวน 0.8
ล้านบาท จำหน่ายให้แก่ LOXBIT ในราคา 38 ล้านบาท ดังนั้น สัดส่วนการถือหุ้นของ LOXBIT ใน PAD เพิ่มขึ้นสุทธิจาก
ร้อยละ 66.67 เป็นร้อยละ 67.77 และในไตรมาสที่สองของปี 2543 PAD ได้ออกหุ้นเพิ่มทุนจำนวน 17.5 ล้านบาท
จำหน่ายให้บุคคล ภายนอกในราคา 1,086.9 ล้านบาท ทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของ LOXBIT ใน PAD ลดลงสุทธิเหลือ
ร้อยละ 41 ผลการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นทำให้ LOXBIT มีส่วนได้เสียในสินทรัพย์สุทธิใน PAD เพิ่มขึ้นประมาณ
505.1 ล้านบาท และ 76.9 ล้านบาท ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ 31 ธันวาคม 2542 ตามลำดับ เนื่องจากบริษัท
ถือหุ้นใน LOXBIT ในอัตราร้อยละ 99.99 ดังนั้น บริษัทจึงบันทึกรับรู้ผลกระทบดังกล่าวและแสดงไว้ในบัญชี "ส่วนเกินทุน
ในส่วนได้เสียของบริษัทย่อย" ภายใต้ "ส่วนของผู้ถือหุ้น" ในงบดุล ผลในการนี้ยังทำให้สัดส่วนการถือหุ้นหรือ บทบาท
ในการบริหารงานในบริษัทย่อยที่ LOXBIT ถือหุ้นโดยทางตรงหรือทางอ้อมหรือมีอำนาจควบคุมลดลงจนกลายเป็นบริษัทร่วม
จำนวน 5 บริษัท ดังรายละเอียดต่อไปนี้
บริษัท พอยท์ เอเซีย ดอท คอม (ประเทศไทย) จำกัด
(เดิมชื่อ บริษัท ล็อกซเล่ย์ อินฟอร์เมชั่น โฮลดิ้ง จำกัด)
บริษัท พอยท์เอเชีย ดอท คอม จำกัด
บริษัท ล็อกซเล่ย์ อินฟอร์เมชั่น จำกัด
บริษัท ล็อกซเล่ย์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จำกัด
บริษัท เน็ทวัน เน็ทเวิร์ค โซลูชั่น จำกัด
- 6 -
ดังนั้น งบการเงินระหว่างกาลรวมสำหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543 จึงไม่รวม
งบการเงินของบริษัทดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัทร่วมดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสีย ในการนี้ บริษัท
ได้ปรับปรุงย้อนหลังสำหรับงบการเงินกาลรวมสำหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2542 และ
งบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2542 ที่แสดงไว้เพื่อประโยชน์ในการเปรียบเทียบกับงบการเงินรวม
สำหรับงวดสามเดือนและหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543 ผลกระทบจากการปรับปรุงงบการเงินรวมงวดก่อนมีดังนี้
ข้อมูลต่อหุ้น (บาท)
พันบาท หุ้นสามัญ หุ้นสามัญปรับลด
กำไร (ขาดทุน) สุทธิรวมสำหรับงวดสามเดือน
สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2542 เพิ่มขึ้น 5,473 0.14 0.11
กำไร (ขาดทุน) สุทธิรวมสำหรับงวดหกเดือน
สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2542 เพิ่มขึ้น 4,767 0.12 0.09
ขาดทุนสะสมรวม ณ วันที่ 1 มกราคม 2543
ลดลง 50,098 1.25 0.99
ขาดทุนสะสมรวม ณ วันที่ 1 มกราคม 2542
ลดลง 45,332 1.13 0.89
4. การเปลี่ยนแปลงทางการบัญชี
4.1 เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2542 บริษัทถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 ซึ่งกำหนดโดยสมาคม
นักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ซึ่งกำหนดให้บริษัทแสดงเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายที่จัดประเภทไว้
เป็นเงินลงทุนระยะยาวในราคาตามมูลค่ายุติธรรมและรับรู้มูลค่าของเงินลงทุนที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นรายการแยกต่างหาก
(ยังมีต่อ)