การเงินระหว่างกาล สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543
15 August 2000
โพลียูริเทน เป็นผู้ถือหุ้น 20,000,000 บาท 67 67
บริษัท ล็อกซเล่ย์ แปซิฟิค จำกัด บริการด้านโทรคมนาคม เป็นผู้ถือหุ้น 300,000,000 บาท 63 63
บริษัท ล็อกซเล่ย์ อินฟรา จำกัด ที่ปรึกษาโครงการ
และก่อสร้างสาธารณูปโภค เป็นผู้ถือหุ้น 20,000,000 บาท 60 60
บริษัท ล็อกซเล่ย์ เพจโฟน จำกัด
และบริษัทย่อย จำหน่ายเครื่องวิทยุติดตามตัว เป็นผู้ถือหุ้น 230,000,000 บาท 55 55
บริษัท ล็อกซเล่ย์ แซทเทลไลท์
คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด
(ยังไม่ได้ประกอบพาณิชยกิจหลัก) บริการส่งสัญญาณดาวเทียม เป็นผู้ถือหุ้น 10,000,000 บาท 51 51
บริษัท ล็อกซเล่ย์ เทรดดิ้ง จำกัด จำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค เป็นผู้ถือหุ้น 50,000,000 บาท 50 50
บริษัท ล็อกซเล่ย์ พร็อพเพอร์ตี้ ธุรกิจก่อสร้างและให้เช่า
ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด อาคาร เป็นผู้ถือหุ้น 107,500,000 บาท 40 40
- 16 -
พันบาท
เงินลงทุนตามวิธีราคาทุน เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย เงินปันผล
30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม
2543 2542 2543 2542 2543 2542
(ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (ตรวจสอบแล้ว) (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (ตรวจสอบแล้ว) (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (ตรวจสอบแล้ว)
(สอบทานแล้ว) (สอบทานแล้ว) (สอบทานแล้ว)
บริษัทย่อย - วิธีส่วนได้เสีย
บริษัท ล็อกซเล่ย์ บิสซิเนส
อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลยี จำกัด
และบริษัทย่อย 294,200 294,200 740,568 358,236 - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ เมียนมาร์ จำกัด
ยังไม่ได้ประกอบพาณิชยกิจหลัก) 4,197 4,197 1,673 1,765 - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ ไวร์เลส จำกัด 30,000 30,000 13,562 29,056 - -
บริษัท จาโก จำกัด
(ยังไม่ได้ประกอบพาณิชยกิจหลัก) 330,000 330,000 - 727 - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ พลังงาน จำกัด
(ยังไม่ได้ประกอบพาณิชยกิจหลัก) 2,499 2,499 153 720 - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ ยูทีลิตี้ส์ เซอร์วิส จำกัด 2,000 2,000 - - - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ บรอดคาสท์
แอนด์ มีเดีย จำกัด และบริษัทย่อย 58,600 58,600 - - - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ คอมแวร์ จำกัด 4,900 4,900 - - - -
บริษัท การค้าลาว จำกัด 8,714 8,714 - 46 - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ นิวเท็ค จำกัด 13,334 13,334 - - - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ แปซิฟิค จำกัด 188,400 188,400 64,686 90,039 - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ อินฟรา จำกัด 12,000 12,000 10,274 10,575 - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ เพจโฟน จำกัด
และบริษัทย่อย 126,500 126,500 195,377 211,047 - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ แซทเทลไลท์
คอมมิวนิเคชั่นส์ จำกัด
(ยังไม่ได้ประกอบพาณิชยกิจหลัก) 5,100 5,100 2,578 2,858 - -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ เทรดดิ้ง จำกัด 25,000 25,000 127,919 145,190 25,000 -
บริษัท ล็อกซเล่ย์ พร็อพเพอร์ตี้
ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด 43,000 43,000 33,646 32,063 - -
รวม 1,148,444 1,148,444 1,190,436 882,322 25,000 -
- 17 -
อัตราร้อยละของ
การถือหุ้น
30 มิถุนายน 31 ธันวาคม
ประเภทกิจการ ลักษณะความสัมพันธ์ ทุนที่ชำระแล้ว 2543 2542
บริษัทร่วม - วิธีส่วนได้เสีย
บริษัท แซ็กซอน (ไทยแลนด์) จำกัด ผลิตน้ำมันหล่อลื่น เป็นผู้ถือหุ้น 10,000,000 บาท 50 50
บริษัท คาสตรอล (ไทยแลนด์) จำกัด จำหน่ายน้ำมันหล่อลื่น เป็นผู้ถือหุ้น 40,000,000 บาท 49 49
บริษัท ไทยไฟเบอร์ ออฟติค จำกัด ธุรกิจสายใยแก้ว เป็นผู้ถือหุ้น 100,000,000 บาท 40 40
บริษัท อิริคสัน ไทย เน็ทเวิร์ค จำกัด ธุรกิจเครือข่ายสายตอนนอก
โทรศัพท์ เป็นผู้ถือหุ้น 3,750,000 บาท 33 33
บริษัท น้ำหวานลาว จำกัด ผลิตและจำหน่ายเครื่องดื่ม เป็นผู้ถือหุ้น 2,448,000,000 กีบ 30 30
ในลาว
บริษัท ล็อกซเล่ย์อลูมิเนียม ออกแบบและติดตั้งงานกระจก
และวิศวกรรม จำกัด อลูมิเนียม เป็นผู้ถือหุ้น 54,000,000 บาท 30 30
Newspager Corporation Limited ธุรกิจเพจเจอร์
(ในสหรัฐอเมริกา) เป็นผู้ถือหุ้น 4,896,895 ส.ร.อ 27 27
บริษัท ไทยเซลลูโลส โปรดักส์ จำกัด ผลิตโซเดียมคาร์บอกซ์
เมทิลเซลลูโลส เป็นผู้ถือหุ้น 180,000,000 บาท 26 26
บริษัท เบียร์ลาว จำกัด ผลิตและจำหน่ายเบียร์ในลาว เป็นผู้ถือหุ้น 14,400,000,000 กีบ 26 26
บริษัท บี เอช พี สตีลบิลดิ้ง โพรดักส์
(ไทยแลนด์) จำกัด ผลิตและจำหน่ายหลังคาเหล็ก เป็นผู้ถือหุ้น 83,500,000 บาท 25 25
Houay Ho Power Company Limited เขื่อนพลังงานน้ำในลาว เป็นผู้ถือหุ้น 50,000,000 ส.ร.อ. 20 20
บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและบริษัทอื่น
หลักทรัพย์เผื่อขาย-ในมูลค่า
ยุติธรรม
บริษัท ไทยเทเลโฟนแอนด์
เทเลคอมมูนิเคชั่น จำกัด สัมปทานให้บริการโทรศัพท์
(มหาชน) พื้นฐาน เป็นผู้ถือหุ้น 11,250,000,000 บาท 13 13
บริษัท ภัทรประกันภัย จำกัด ธุรกิจประกันภัย เป็นผู้ถือหุ้น 200,000,000 บาท 8 8
(มหาชน)
เงินลงทุนทั่วไป-ในราคาทุน
บริษัท บีเอชพี สตีล (ไทยแลนด์) ผลิตและจำหน่ายหลังคาเหล็ก เป็นผู้ถือหุ้น 2,500,000,000 บาท 18 18
จำกัด
กองทุนรวมหุ้นบุริมสิทธิ-หุ้นกู้
ด้อยสิทธิของ บมจ.
ธนาคารกสิกรไทย จัดการกองทุน เป็นผู้ถือหน่วยลงทุน 40,000,000,000 บาท 0.25 0.25
- 18 -
พันบาท
เงินลงทุนตามวิธีราคาทุน เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย เงินปันผล
30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม
2543 2542 2543 2542 2543 2542
(ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (ตรวจสอบแล้ว) (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (ตรวจสอบแล้ว) (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (ตรวจสอบแล้ว)
(สอบทานแล้ว) (สอบทานแล้ว) (สอบทานแล้ว)
บริษัทร่วม - วิธีส่วนได้เสีย
บริษัท แซ็กซอน (ไทยแลนด์) จำกัด 5,000 5,000 46,159 47,589 34,979 94,943
บริษัท คาสตรอล (ไทยแลนด์) จำกัด 19,600 19,600 296,530 275,617 88,191 225,377
บริษัท ไทยไฟเบอร์ ออฟติค จำกัด 40,000 40,000 - - - -
บริษัท อิริคสัน ไทย เน็ทเวิร์ค จำกัด 1,250 1,250 2,683 2,734 - 3,998
บริษัท น้ำหวานลาว จำกัด 25,715 25,715 25,900 27,016 5,466 5,340
บริษัท ล็อกซเล่ย์อลูมิเนียม
และวิศวกรรม จำกัด - 16,135 - - - -
Newspager Corporation Limited 98,746 98,746 - - - -
บริษัท ไทยเซลลูโลส โปรดักส์ จำกัด 46,800 46,800 - - - -
บริษัท เบียร์ลาว จำกัด 129,480 129,480 153,295 157,772 57,413 26,670
บริษัท บี เอช พี สตีลบิลดิ้ง โพรดักส์
(ไทยแลนด์) จำกัด 20,875 20,875 93,748 92,302 - 7,515
Houay Ho Power Company Limited 254,234 254,234 373,711 366,742 - -
อื่น ๆ 91,140 91,140 15,272 19,827 - 780
รวม 732,840 748,975 1,007,298 989,599 186,049 364,623
รวมทั้งสิ้น 1,881,284 1,897,419 2,197,734 1,871,921 211,049 364,623
บริษัทที่เกี่ยวข้องกันและบริษัทอื่น
หลักทรัพย์เผื่อขาย-ในมูลค่ายุติธรรม
บริษัท ไทยเทเลโฟนแอนด์
เทเลคอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) 1,753,873 1,753,873 - -
บริษัท ภัทรประกันภัย จำกัด
(มหาชน) 35,621 35,621 11,428 13,061
อื่น ๆ 13,787 13,787 80 360
รวม 1,803,281 1,803,281 11,508 13,421
บวก(หัก) ส่วนต่างระหว่างราคา
ตามบัญชีกับราคายุติธรรม ( 845,632) 357,847
สุทธิ 957,649 2,161,128
เงินลงทุนทั่วไป-ในราคาทุน
บริษัท บีเอชพี สตีล (ไทยแลนด์) 450,000 450,000 - -
จำกัด
กองทุนรวมหุ้นบุริมสิทธิ-หุ้นกู้
ด้อยสิทธิของบมจ.
ธนาคารกสิกรไทย 100,000 100,000 5,485 10,699
อื่น ๆ 130,130 135,880 1,708 1,798
รวม 680,130 685,880 7,193 12,497
หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของ
เงินลงทุนทั่วไป ( 20,500) ( 20,500)
สุทธิ 659,630 665,380
- 19 -
บริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัท ล็อกซเล่ย์ ฮิตาชิ เคเบิ้ล เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด และเงินลงทุนในบริษัท
ไทยเทเลโฟนแอนด์เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ตามวิธีส่วนได้เสีย ต่อมาในปี 2540 และ 2539 บริษัทได้ขาย
เงินลงทุนของบริษัทดังกล่าวส่วนหนึ่งซึ่งมีผลทำให้อัตราส่วนการถือครองหุ้นในบริษัทดังกล่าวไม่ถึงร้อยละ 20 บริษัทจึงเปลี่ยน
ธีการบันทึกเงินลงทุนจากเดิมไปใช้วิธีบันทึกบัญชีตามราคาทุน โดยถือเอายอดคงเหลือในบัญชีตามวิธีส่วนได้เสียที่คงเหลืออย
เป็นราคาทุนของเงินลงทุน
บริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัท ไทย ฟลายอิ้ง เซอร์วิส จำกัด ตามวิธีส่วนได้เสีย ต่อมาในปี 2541 ทางบริษัท
ไทย ฟลายอิ้ง เซอร์วิส จำกัด ได้เพิ่มทุนจดทะเบียนโดยทางบริษัทมิได้ใช้สิทธิซื้อหุ้นเพิ่มทุน ซึ่งมีผลทำให้อัตราส่วนการถือหุ้น
ในบริษัทดังกล่าวต่ำกว่าร้อยละ 20 บริษัท จึงเปลี่ยนวิธีการบันทึกเงินลงทุนจากเดิมไปใช้วิธีบันทึกบัญชีตามราคาทุน โดย
ถือเอายอดคงเหลือในบัญชีตามวิธีส่วนได้เสียที่คงเหลืออยู่เป็นราคาทุนของเงินลงทุน
งบการเงินของบริษัทร่วมบางแห่งที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการบันทึกเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียยังไม่ได้ตรวจสอบโดย
ผู้สอบบัญชี เนื่องจากบริษัทร่วมบางแห่งจดทะเบียนและดำเนินธุรกิจอยู่ในต่างประเทศและฝ่ายบริหารของบริษัทร่วมดังกล่าว
ไม่มีความจำเป็นต้องใช้งบการเงินระหว่างกาล ที่ผ่านการสอบทาน เงินลงทุนในบริษัทร่วมเหล่านี้ ณ วันที่ 30 มิถุนายน
2543 มีจำนวนเงินรวมประมาณ 570.9 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 4.5 และ 5.4 ของสินทรัพย์รวมในงบดุลรวมและใน
งบดุลเฉพาะของบริษัท ตามลำดับ ส่วนได้เสียในผลการดำเนินงานของบริษัทร่วมเหล่านี้ที่แสดงรวมไว้ในงบกำไรขาดทุน
สำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ 2542 มียอดเป็นกำไรจำนวนประมาณ 46.1 ล้านบาท และ
34.3 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ (11.4) และ 17.1 ของกำไร (ขาดทุน) สุทธิแต่ละงวดในงบการเงินระหว่างกาลรวม
และร้อยละ (11.4) และ 16.9 ของกำไร (ขาดทุน) สุทธิแต่ละงวดในงบการเงินระหว่างกาลเฉพาะของบริษัทตามลำดับ
และสำหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ 2542 มียอดเป็นกำไรจำนวนประมาณ 63.0 ล้านบาท และ
65.9 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ (10.1) และ 104.1 ของกำไร (ขาดทุน) สุทธิของแต่ละงวดในงบการเงินระหว่าง
กาลรวม และร้อยละ (10.2) และ 126.3 ของกำไร (ขาดทุน) สุทธิเฉพาะงบการเงินระหว่างกาลของบริษัท ตามลำดับ
- 20 -
6.7 เงินกู้ยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน
งบการเงินรวม
บัญชีนี้ประกอบด้วย
พันบาท
อัตราดอกเบี้ย จำนวนเงิน
30 มิถุนายน 31 ธันวาคม 30 มิถุนายน 31 ธันวาคม
2543 2542 2543 2542
(ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (ตรวจสอบแล้ว) (ยังไม่ได้ตรวจสอบ) (ตรวจสอบแล้ว)
วัตถุประสงค์ (สอบทานแล้ว) (ปรับปรุงใหม่) (สอบทานแล้ว) (ปรับปรุงใหม่)
เงินกู้ยืมระยะสั้น
บริษัท ซีทีดับบลิว เบต้า จำกัด เพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจ 9.50% 12.75% 8,590 9,000
เงินทดรอง
กิจการร่วมค้า บริษัท ล็อกซเล่ย์ ยูทีลิตี้
เซอร์วิส จำกัด และ หจก. ศิริพงษ์
ก่อสร้าง เพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจ - - 4,680 6,310
อื่น ๆ 2,362 4,208
รวมเงินกู้ยืมระยะสั้น
และเงินทดรองจาก
บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 15,632 19,518
6.8 เงินกู้ยืมระยะยาว
ในเดือนมีนาคม 2537 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากู้ยืมเงินกับธนาคารในประเทศแห่งหนึ่ง โดยได้รับวงเงิน
สินเชื่อเป็นจำนวนเงินรวม 400 ล้านบาท ซึ่งแบ่งเป็นเงินกู้สกุลเหรียญสหรัฐอเมริกาเทียบเท่าเงินสกุลบาท และเงินกู้
สกุลบาทรวม 2 จำนวน ๆ ละ 200 ล้านบาทเท่า ๆ กัน โดยเงินกู้ยืมจำนวนแรกมีดอกเบี้ยตามอัตรา SINGAPORE
INTERBANK OFFERED RATE (SIBOR) บวกร้อยละ 2 ต่อปี ส่วนเงินกู้ยืมจำนวนที่สองมีดอกเบี้ยตามอัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ขั้นต่ำ (MLR) ที่ประกาศโดยธนาคารในประเทศแห่งหนึ่งเงินกู้ยืมนี้มีกำหนดชำระคืนเป็นงวดทุกงวดสามเดือนรวม 32 งวด
โดยเริ่มชำระงวดแรกภายหลังครบกำหนดระยะเวลา 2 ปีนับแต่วันเบิกเงินกู้ เงินกู้ยืมนี้ค้ำประกันโดยการจดจำนองที่ดินพร้อม
สิ่งปลูกสร้างของบริษัทย่อย ต่อมาในเดือนพฤษภาคม 2540 บริษัทย่อยดังกล่าวได้ทำสัญญาเปลี่ยนสกุลเงินของเงินกู้จากสกุล
เหรียญสหรัฐอเมริกาเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ตกลงกันเป็นจำนวนเงินประมาณ 178.8 ล้านบาท และได้เปลี่ยน
อัตราดอกเบี้ยเป็นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขั้นต่ำ (MLR) ที่ประกาศโดยธนาคารผู้ให้กู้ ต่อมา ในเดือนสิงหาคม 2541 บริษัท
ย่อยได้มีการเจรจาขอเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการจ่ายชำระคืนเงินกู้กับธนาคารผู้ให้กู้และได้รับอนุมัติให้ขยายระยะเวลาปลอด
เงินต้นออกไปอีก 26 เดือน นับตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2541 ส่วนดอกเบี้ยให้ชำระเป็นรายเดือน
- 21 -
ในเดือนตุลาคม 2537 และกันยายน 2538 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากู้ยืมเงินจากธนาคารในประเทศแห่งหนึ่ง
เป็นจำนวนเงิน 60 ล้านบาท และ 15 ล้านบาท โดยมีกำหนดชำระคืนเป็นงวดสิ้นสุดเดือนตุลาคม 2543 และเดือนกันยายน
2543 ตามลำดับ เงินกู้ยืมนี้ค้ำประกันโดยการจำนองเครื่องจักรและอุปกรณ์ดำเนินงานของบริษัทย่อย เนื่องจากบริษัทย่อย
ผิดนัดชำระคืนเงินกู้ยืมที่ครบกำหนดชำระ ดังนั้น บริษัทย่อยจึงบันทึกจำนวนเงินกู้ยืมดังกล่าวจำนวน 66 ล้านบาท ไว้ในบัญชี
"ส่วนของเงินกู้ระยะยาวที่ครบกำหนดชำระภายในหนึ่งปี" ในงบการเงินรวม
ในเดือนธันวาคม 2540 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ทำสัญญากู้ยืมเงินจากธนาคารในประเทศแห่งหนึ่งเป็นจำนวนเงิน 50
ล้านบาท โดยมีกำหนดชำระคืนเป็นรายเดือนตามจำนวนที่กำหนดในสัญญา โดยเริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม 2541 เงินกู้ยืมนี้
ค้ำประกันโดยบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง บริษัทย่อยได้จ่ายชำระคืนเงินกู้นี้ทั้งจำนวนแล้วในไตรมาสที่สี่ของปี 2542
6.9 หุ้นกู้แปลงสภาพสกุลเงินต่างประเทศ
ในระหว่างไตรมาสที่สองของปี 2538 บริษัทออกหุ้นกู้แปลงสภาพสกุลเงินต่างประเทศจำหน่ายในต่างประเทศ
ในราคาตามมูลค่าที่ตราไว้เป็นจำนวนทั้งสิ้น 100 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (แบ่งเป็น 100,000 หุ้น โดยมีมูลค่าหุ้นที่
ตราไว้หุ้นละ 1,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา) หรือเทียบเท่าเป็นเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้คงที่เมื่อ
ครบกำหนดแปลงสภาพหรือไถ่ถอนเท่ากับ 2,455 ล้านบาท (ECD 1) หุ้นกู้นี้มีดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 3.5 ต่อปี
หลังภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย โดยจะครบกำหนดไถ่ถอนใน วันที่ 20 เมษายน 2548 อย่างไรก็ตาม ผู้ถือหุ้นกู้สามารถใช
สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้นสามัญของบริษัทในราคาแปลงสภาพหุ้นละ 500 บาท ณ เวลาใดเวลาหนึ่งก็ได้ในระหว่างวันที่ 20
กรกฎาคม 2538 ถึงวันที่ 20 มีนาคม 2548 หรือใช้สิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ก่อนกำหนด ในวันที่ 20 เมษายน 2543 ในราคาบวก
ส่วนเพิ่มแล้วรวมเป็นหุ้นละ 1,310 เหรียญสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ต้องเข้าเงื่อนไขและข้อกำหนดบางประการตามที่ระบุไว้
ในหนังสือชี้ชวน นอกจากนี้ บริษัทสามารถใช้สิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้บางส่วนหรือทั้งหมดก่อนกำหนดได้ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2541
จนถึงวันที่ 20 เมษายน 2543 ในราคาบวกส่วนเพิ่มต่าง ๆ กันรวมเป็นหุ้นละ 1,237 หรือ 1,310 เหรียญสหรัฐอเมริกา
ขึ้นกับระยะเวลาที่ไถ่ถอน ทั้งนี้บริษัทต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกำหนดบางประการที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน
- 22 -
ในระหว่างไตรมาสที่สองของปี 2539 บริษัทออกหุ้นกู้แปลงสภาพสกุลเงินตราต่างประเทศจำหน่ายในต่างประเทศ
เพิ่มเติมในราคาตามมูลค่าที่ตราไว้เป็นจำนวนทั้งสิ้น 105 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา (แบ่งเป็น 105,000 หุ้น โดยมีมูลค่า
ที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา) หรือเทียบเท่าเป็นเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดไว้คงที่ เมื่อครบ
กำหนดแปลงสภาพเท่ากับ 2,646 ล้านบาท (ECD 2) หุ้นกู้นี้มีดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2.5 ต่อปี หลังภาษีเงินได้หัก ณ
ที่จ่าย โดยจะครบกำหนดไถ่ถอนในวันที่ 4 เมษายน 2544 อย่างไรก็ตาม ผู้ถือหุ้นกู้สามารถใช้สิทธิแปลงสภาพหุ้นกู้เป็นหุ้น
สามัญของบริษัทในราคาแปลงสภาพหุ้นละ 450 บาท ณ เวลาใดเวลาหนึ่งก็ได้ในระหว่างวันที่ 4 กรกฎาคม 2539 ถึงวันที่
4 มีนาคม 2544 นอกจากนี้ บริษัทสามารถใช้สิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้บางส่วนหรือทั้งหมดก่อนกำหนดได้ตั้งแต่เดือนเมษายน 2542
จนถึงวันที่ 3 เมษายน 2544 ในราคาบวกส่วนเพิ่มแล้วรวมเป็นหุ้นละ 1,210 เหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2543 และ
1,272 เหรียญสหรัฐอเมริกา ในปี 2544 ทั้งนี้บริษัทต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและ ข้อกำหนดที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน
เกี่ยวเนื่องกับการออกหุ้นกู้ดังกล่าวข้างต้น ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2538 ผู้ถือหุ้นมีมติให้
บริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจาก 400 ล้านบาท (แบ่งเป็น 40 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) เป็น 460 ล้านบาท
(แบ่งเป็น 46 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) และต่อมาได้มีมติเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2539 ให้เพิ่มทุนจดทะเบียน
ของบริษัทจาก 460 ล้านบาท (แบ่งเป็น 46 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) เป็น 520 ล้านบาท (แบ่งเป็น 52 ล้านหุ้น
มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) โดยให้สำรองหุ้นสามัญจำนวนรวม 12 ล้านหุ้นที่เพิ่มนี้เพื่อรองรับการใช้สิทธิในการแปลงสภาพหุ้นกู้
เป็นหุ้นสามัญ บริษัทได้จดทะเบียนมติเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2538 และวันที่ 20 มีนาคม
2539 ตามลำดับ
- 23 -
เริ่มตั้งแต่ปี 2539 เป็นต้นมา ราคาตลาดของหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยทั่วไปรวมทั้งของ
บริษัทตกต่ำอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่ผู้ถือหุ้นกู้อาจไม่นำหุ้นกู้มาแปลงสภาพตามจำนวนที่ประมาณไว้ทั้งหมด ดังนั้น บริษัท
จึงถือเป็นนโยบายที่จะตั้งสำรองค่าใช้จ่ายทางการเงินสำหรับส่วนเพิ่มที่จะต้องจ่ายหากผู้ถือหุ้นกู้ใช้สิทธิไถ่ถอนก่อนกำหนด
ในอัตราร้อยละ 80 ของส่วนเพิ่มทั้งหมดที่ต้องจ่าย ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นกู้ทั้งหมดใช้สิทธิไถ่ถอนก่อนกำหนดโดยเฉลี่ยตามระยะ
เวลาที่ให้สิทธิไถ่ถอนก่อนกำหนด อย่างไรก็ตามในไตรมาสที่สี่ของปี 2542 บริษัทได้ตั้งสำรองค่าใช้จ่ายทางการเงินส่วน
เพิ่มของ ECD 1 เป็นร้อยละ 100 เนื่องจาก ECD1 ใกล้ถึงช่วงเวลาของการใช้สิทธิแปลงสภาพก่อนกำหนด ณ วันที่
30 มิถุนายน 2543 สำรองค่าใช้จ่ายทางการเงินดังกล่าวมีจำนวนเงินรวมทั้งสิ้นประมาณ 1,979.7 ล้านบาท (รวมสำรอง
ค่าใช้จ่ายทางการเงินสำหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543 จำนวนประมาณ 158.5 ล้านบาท) เนื่องจากใกล้ถึงช่วง
เวลาของการใช้สิทธิแปลงสภาพก่อนกำหนด ดังนั้น บริษัทได้แต่งตั้งที่ปรึกษาทางการเงินเพื่อให้ความช่วยเหลือในการปรับ
โครงสร้างหนี้ของหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าวใหม่ อนึ่ง กลุ่มผู้ถือหุ้นกู้ได้ยื่นข้อเสนอในเรื่องการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ต่อบริษัท
และฝ่ายบริหารของบริษัทเห็นด้วยในเบื้องต้นกับข้อเสนอ ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัทยังอยู่ในระหว่างการเจรจาต่อรอง
ในเงื่อนไขต่าง ๆ บริษัทคาดว่าจะสามารถได้ข้อสรุปในส่วนที่เกี่ยวกับรายละเอียดของสัญญาที่เกี่ยวข้องและจะสามารถลงนาม
ในสัญญาได้ในระยะเวลาอันใกล้นี้
- 24 -
6.10 ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน
รายละเอียดข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน สำหรับงวดสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2543 และ 2542 มีดังนี้
งบการเงินรวม
ล้านบาท
ธุรกิจสายระบบสารสนเทศ ธุรกิจสายการค้า-อุตสาหกรรม อื่น ๆ รวม
2543 2542 2543 2542 2543 2542 2543 2542
(ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่)
ขายสุทธิ 1,500 1,584 1,353 1,729 70 143 2,923 3,456
ต้นทุนขาย ( 946) (1,045) (1,133) (1,449) ( 46) ( 93) ( 2,125) (2,587)
กำไรขั้นต้น 554 539 220 280 24 50 798 869
กำไรจากการ
ดำเนินงาน 32 126 59 138 96 163 187 427
เงินปันผลรับจากเงิน
ลงทุนในบริษัทอื่น 19 19
ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ( 180) ( 151)
ดอกเบี้ยจ่าย ( 189) ( 213)
ค่าตอบแทนกรรมการ ( 4) ( 2)
ค่าใช้จ่ายอื่น ( 215) ( 178)
ส่วนได้เสียในผลการ
ดำเนินงานของ
บริษัทร่วม - สุทธิ 156 164
ขาดทุนจากอัตรา
แลกเปลี่ยน ( 380) ( 12)
ภาษีเงินได้ ( 34) 23
ส่วนของผู้ถือหุ้น
ส่วนน้อยใน (กำไร)
ขาดทุนสุทธิของ
บริษัทย่อย 18 ( 14)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ( 622) 63
สินทรัพย์ถาวร - สุทธิ 767 781 23 29 891 984 1,681 1,794
สินทรัพย์อื่น 11,126 11,968
สินทรัพย์รวม 12,807 13,762
- 25 -
งบการเงินเฉพาะบริษัท
ล้านบาท
ธุรกิจสายการค้า-
ธุรกิจสายระบบสารสนเทศ อุตสาหกรรม อื่น ๆ รวม
2543 2542 2543 2542 2543 2542 2543 2542
ขายสุทธิ 653 787 403 411 46 45 1,102 1,243
ต้นทุนขาย (510) (629) (333) (297) ( 29) ( 25) ( 872) ( 951)
(ยังมีต่อ)